วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 2 มกราคม พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 9 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30- 12:30 น. ห้อง 234 อาคาร 2
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันปีใหม่ไทย
วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 8 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30- 12:30 น. ห้อง 234 อาคาร 2
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคของนักศึกษามหาวิทยาลัย-
ราชภัฎจันทรเกษม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 8 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30- 12:30 น. ห้อง 234 อาคาร 2
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคของนักศึกษามหาวิทยาลัย-
ราชภัฎจันทรเกษม
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 7 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30- 12:30 น. ห้อง 234 อาคาร 2
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคของนักศึกษามหาวิทยาลัย-
ราชภัฎจันทรเกษม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 7 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30- 12:30 น. ห้อง 234 อาคาร 2
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาคของนักศึกษามหาวิทยาลัย-
ราชภัฎจันทรเกษม
วันพฤหัสบดีที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6
บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 6 กลุ่มเรียน 103 (วันพฤหัสบดี ตอนเช้า)
เวลาเข้าเรียน 08:30 - 12:30 ห้อง 234 อาคาร 2
เนื่องจากวันนี้ดิฉันมีธุระ จึงไม่ได้เรียน แต่ดิฉันได้สอบถามและศึกษาเนื้อหาความรู้จาก
นางสาวจิราพร นวลโฉม การเรียนนวันนี้อาจารย์สอนเรื่อง "กรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ปฐมวัย"
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ
- สาระที่ 2 : การวัด
- สาระที่ 3 : เรขาคณิต
- สาระที่ 4 : พีชคณิต
- สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
คุณภาพของเด็กเมื่อจบการศึกษาปฐมวัย
1. มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Thinking )
2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
4. มีความรู้ความเข้าใจ รูปแบบของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด สีที่สัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5 .มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิอย่างง่าย
6 . มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
สาระที่ 1: จำนวนและการดำเนินการ
- มาตรฐาน ค.ป.1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง
ภาพตัวอย่าง
เป็นการเปรียบเทียบจำนวน ระหว่างกระต่าย 4 ตัวกับลูกหมี 2 ตัว
การรวมและการแยกกลุ่ม
ภาพตัวอย่าง
จากภาพตัวอย่าง จะเป็นการแบ่งกลุ่มระหว่างกระต่ายกับหมี ซึ่งจะทำให้เด็กเข้าใจได้ว่า
ถ้าเหมือนกันก็จะต้องอยู่ด้วยกัน
สาระที่ 2 : การวัด
- มาตรฐาน ค.ป.2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงินและเวลา
ความยาว น้ำหนัก และปริมาตร
ภาพตัวอย่าง
สาระที่ 3 : เรขาคณิต
- มาตรฐาน ค.ป. 3.1 รู้จักใช้คำในการบอกตำแหน่ง ทิศทาง และระยะทาง
- มาตรฐาน ค.ป. 3.2 รู้จักจำแนกรูปเรขาคณิต และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิตที่เกิด
จากการกระทำ
ตำแหน่งทิศทาง และระยะทาง
- การบอกตำแหน่ง ทิศทาง และ ระยะทาง ของสิ่งต่างๆ
รูปเรขาคณิตสามมิติ และ รูปเรขาคณิตสองมิติ
- ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก
- รูปวงกลม รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
- การเปลี่ยนแปลง รูปเรขาคณิตสองมิติ
- การสร้างสรรค์งาน ศิลปะจากรูปเรขาคณิตสามมิติและสองมิติ
ภาพตัวอย่าง
สาระที่ 4 : พีชคณิต
- มาตรฐาน ค.ป. 4.1 เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
ภาพตัวอย่าง
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- มาตรฐาน ค.ป. 5.1 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตนเองและสิ่งแวดล้อม และนำเสนอ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการนำเสนอ
- การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิอย่างง่าย
สาระที่ 6 : ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
- การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ความรู้และการนำไปใช้
ความรู้ที่ได้จากเนื้อหาวันนี้ คือ สามารถนำไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียนได้
เช่น การเล่านิทาน การทำกิจกรรมกลางแจ้ง เป็นต้น แล้วแต่ว่าเราจะนำไปใช้จัดกิจกรรม
กับเด็กๆ อย่างไร
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)